MENU
ข้อมูลทั่วไป
    หน้าแรก
    สภาพทั่วไป
    โครงสร้าง OSM
    ข้อมูลพื้นฐาน
    ข้อมูลเพื่อการวางแผน
 
ทิศทางการพัฒนากลุ่ม
    Swot Analysis
    ทิศทางการพัฒนา
    ยุทธศาสตร์อนุภาค
      กลางตอนบน
 
ยุทธศาสตร์กลุ่ม
    ยุทธศาสตร์กลุ่ม
    แผนพัฒนากลุ่ม
    แผนปฏิบัติกลุ่ม
 
ติดตามประเมินผล
 
สถิติการเยี่ยมชมเว็บไซต์
Free Web Counter
เริ่มนับ 01 มกราคม 2552
 
รวมเว็บไซต์

 

ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2
(ชัยนาท สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง)


การวางตำแหน่งยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2
          •  แหล่งผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงประชากรในประเทศและต่างประเทศ
          •  เกษตรอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมก่อสร้าง กระเบื้องเคลือบดินเผาที่สำคัญ
          •  มีศักยภาพระบบ Logistic เพื่อลดต้นทุนภาคการขนส่ง และการผลิต
          •  การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมและธรรมชาติ
          •  ระบบบริหารจัดการน้ำที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาภาคผลิตและลดภัยพิบัติ

วิสัยทัศน์
          “แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย กระจายสินค้า พัฒนาการท่องเที่ยว และสังคมน่าอยู่ ”

ประเด็นยุทธศาสตร์
          •  การปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย
          •  เชื่อมโยงการกระจายสินค้าทางบก และทางน้ำ
          •  บริหารจัดการการท่องเที่ยว อย่างมีประสิทธิภาพ
          •  เสริมสร้างระบบบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ
          •  การบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เป้าประสงค์รวม
          •  เป็นฐานการผลิตอาหารและสนับสนุนการพลังงานของประเทศ
          •  รักษามรดกประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสร้างความสมดุลหลากหลายทรัพยากร ธรรมชาติทางชีวภาพ
          •  เป็นแหล่งน้ำต้นทุนเพื่อการพัฒนาภาคกลางตอนบนและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย

เป้าประสงคผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อการบริโภคและจำหน่าย

กลยุทธ์หลัก

ตัวชี้วัด

  1. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตอาหารปลอดภัย      และพืชพลังงาน เพื่อการแข่งขัน
  2. พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป การบรรจุภัณฑ์       ตราสัญลักษณ์    สินค้ามาตรฐาน
  3. พัฒนาเชื่อมโยงทางการตลาดในประเทศ       และต่างประเทศ
  4. ประชาสัมพันธ์การผลิตอาหารปลอดภัย

 

•  ร้อยละของจำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP สินค้าเกษตร และจำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับการตรวจจากกระทรวง เกษตรและสหกรณ์

•  ร้อยละของจำนวนเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเตรียมความพร้อมตาม ระบบมาตรฐาน GAP

•  จำนวนผู้ประกอบการที่ผลิตสินค้าอาหารปลอดภัยที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ของจังหวัด

•  จำนวนที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการที่รับซื้อผลผลิตข้าวที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เชื่อมโยงการกระจายสินค้าทางบก และทางน้ำ

เป้าประสงค์ เชื่อมโยงระบบกระจายสินค้าและบริการ

กลยุทธ์หลัก

ตัวชี้วัด

  1. พัฒนาโครงข่ายคมนาคมทางบก
  2. สนับสนุนแหล่งกระจายสินค้าทางบก ทางน้ำ

• ระยะทางของการพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางบก 36.103 กม.

• ปริมาณดินที่ขุดลอกปรับปรุงเส้นทางคมนาคมทางน้ำ

• จำนวนบุคลากรด้านกระจายสินค้าที่ได้รับพัฒนาความรู้ การบริหารจัดการขนส่ง

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการ การท่องเที่ยว อย่างมีประสิทธิภาพ

เป้าประสงค์ เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว

กลยุทธ์หลัก

ตัวชี้วัด

 1. เชื่อมโยงพัฒนาเครือข่าย และส่งเสริมการตลาด      ท่องเที่ยว
2. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ  
• ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ จากการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างระบบบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ

เป้าประสงค์ ระบบบริหารจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ

กลยุทธ์หลัก

ตัวชี้วัด

  1. การพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ
  2. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากน้ำ 
  3. การจัดระบบเตือนภัยจากน้ำ   

•  ระดับความสำเร็จของการจัดให้มีระบบเตือนภัยจากน้ำ

•  ระดับความสำเร็จในการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง

 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

เป้าประสงครักษาความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์หลัก

ตัวชี้วัด

  1. อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม
  2. ส่งเสริมและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
  3. ส่งเสริมและพัฒนาด้านพลังงานทดแทน
• ระดับความสำเร็จของการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ 5 ขั้นตอน  
• ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 5 ขั้นตอน

 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมพัฒนาด้านพลังงานทดแทน